bi-wire มีข้อดีมากกว่า single wire ครับ
หลักการ bi-wire ในทางอิเล็คทรอนิกส์ จะเหมือนการต่อวงจรไฟฟ้าแบบ star ground
นักบัดกรีทุกคนจะรู้ว่าการต่ออุปกรณ์ในวงจร ถ้ารวมกราวน์ลากมาจุดเดียวจะดีกว่าใช้กราวน์เป็นแถบหรือบัสบาร์ยาวๆแล้วแยกย่อยไปแต่ละส่วน สัญญาณไฟฟ้าที่ไม่ต้องการที่อาจเกิดขึ้นในวงจรทั้งสัญญาณรบกวน และ back emf (แรงดันไฟฟ้าจากลำโพงที่ไหลย้อนกลับ) จะได้ไหลลงกราวน์ได้เร็ว ไม่ผ่านอุปกรณ์ตัวอื่นๆ
แต่ทั้งหมดทั้งมวล bi-amp ดีที่สุดครับ และต้องเป็น bi-amp ที่ใช้เพาเวอร์แอมป์รุ่นเดียวกันสเป็คเดียวกันด้วยนะครับ เพื่อให้อัตราขยายทั้งหมดเท่ากันตลอด การใช้ bi-amp ไม่จำเป็นต้องมี electronic crossover ก่อนเข้าแอมป์ เราสามารถต่อแอมป์ให้ขยายสัญญาณทั้งย่านความถี่ไปได้เลยแล้วไปให้ cross over ในลำโพงทำงานตัดแบ่งความถี่แทน เพราะการตัดแบ่งความถี่ในระบบควรทำครั้งเดียว ซึ่งในลำโพงจะมีตัวตัดแบ่งความถี่อยู่แล้ว ใช้ที่เดียวจะเสียงดีที่สุด ออกแบบระบบง่ายที่สุด
bi-wire มีข้อดีมากกว่า single wire ครับ
หลักการ bi-wire ในทางอิเล็คทรอนิกส์ จะเหมือนการต่อวงจรไฟฟ้าแบบ star ground
นักบัดกรีทุกคนจะรู้ว่าการต่ออุปกรณ์ในวงจร ถ้ารวมกราวน์ลากมาจุดเดียวจะดีกว่าใช้กราวน์เป็นแถบหรือบัสบาร์ยาวๆแล้วแยกย่อยไปแต่ละส่วน สัญญาณไฟฟ้าที่ไม่ต้องการที่อาจเกิดขึ้นในวงจรทั้งสัญญาณรบกวน และ back emf (แรงดันไฟฟ้าจากลำโพงที่ไหลย้อนกลับ) จะได้ไหลลงกราวน์ได้เร็ว ไม่ผ่านอุปกรณ์ตัวอื่นๆ
แต่ทั้งหมดทั้งมวล bi-amp ดีที่สุดครับ และต้องเป็น bi-amp ที่ใช้เพาเวอร์แอมป์รุ่นเดียวกันสเป็คเดียวกันด้วยนะครับ เพื่อให้อัตราขยายทั้งหมดเท่ากันตลอด การใช้ bi-amp ไม่จำเป็นต้องมี electronic crossover ก่อนเข้าแอมป์ เราสามารถต่อแอมป์ให้ขยายสัญญาณทั้งย่านความถี่ไปได้เลยแล้วไปให้ cross over ในลำโพงทำงานตัดแบ่งความถี่แทน เพราะการตัดแบ่งความถี่ในระบบควรทำครั้งเดียว ซึ่งในลำโพงจะมีตัวตัดแบ่งความถี่อยู่แล้ว ใช้ที่เดียวจะเสียงดีที่สุด ออกแบบระบบง่ายที่สุด