เป็นการรวมตัวกันของแอมป์ทั้ง 2 คลาสที่กล่าวมา คือใช้ทรานซิสเตอร์ 2 ตัว แต่จะมีการป้อนกระแสไฟปริมาณตํ่าๆเอาไว้ล่วงหน้าอยู่ตลอดแต่จะไม่มากเท่าคลา ส A และการจัดวงจรก็ใช้แบบ Push-Pull เหมือนคลาส B จึงทำให้พาวเวอร์แอมป์ประเภทนี้มีคุณภาพเสียงที่ค่อนข้างดี ถึงแม้จะไม่เท่าคลาส A แต่ได้เปรียบในเรื่องของกำลังขับที่มากกว่า และเกิดความร้อนน้อยกว่า และคลาส AB นี้แหละเป็นแอมป์ที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบัน และสามารถนำไปขับได้ทั้งลำโพงกลาง-แหลม หรือแม้แต่ซับวูเฟอร์ก็ได้
Class D
ตัว “D”ไม่ได้ย่อมาจากคำว่า DIGITAL อินพุทถูกแปลงเป็นออดิโอ เวฟฟอร์ม ไบนารี 2 สเตท ความแตกต่างเป็นเรื่องสำคัญ เพราะ CLASS D ออกแบบให้ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ แทนที่จะต้องเสียกำลังไปในทรานซิสเตอร์ เอาท์พุทก็จะถูกไม่เปิดตลอด ไม่มีโวลเทจเสีย ก็ปิดตลอด ส่งผลให้ประสิทธิภาพเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ดังนั้นอินพุทออดิโอถูกแปลงเป็น PWM (PULSE WIDULATED) ร่องสีเหลืองที่อยู่ขางใต้คือ เอาท์พุทของแอมพ์ ร่องสีฟ้าคือ เวฟฟอร์ม PWM เวฟฟอร์มสีฟ้าจะถูกป้อนให้กับฟิลเตอร์เอาท์พุท ซึ่งให้ผลเป็นเวฟฟอร์มเอาท์พุทสีเหลือง สังเกตว่า เอาท์พุทจะดูเหมือนอะไรบางอย่างที่เสียไปสัญญาณที่เสีย และเสียงสวิทชิงทั้งหมดไม่สามารถเอาออกไปได้ และจะเห็นผลได้ที่นี่ เพราะขั้นตอนการแปลงสัญญาณอินพุทไปเป็น pwn และแปลงกลับไปเป็นแอนาลอก ทำให้เกิดการเสียของสัญญาณไป ฟีดแบคทั่วไปก็เหมือนกับที่ใช้ในการออกแบบแอมพ์ CLASS “AB” เพื่อลดการเสียของสัญญาณ มอสเฟทเป็นทางเลือกเดียวสำหรับการออกแบบ CLASS “D” ซึ่งการออกแบบส่วนใหญ่จะมีประโยชน์แต่กับเพียงเบสส์แอมพ์ เมื่อมันไม่สามารถสวิทช์ได้เร็วเพียงพอ กับการผลิตความถี่สูงอีกครั้ง การออกแบบ CLASS “D” ฟลูล์เรนจ์คุณภาพสูงยังคงหาได้ ในเครื่องเสียงระดับมืออาชีพ แต่มันจะซับซ้อนกับเอาท์พุทมัลทิเฟล
CLASS T
(TRIPATH) เหมือนกับ CLASS D แต่ไม่ใช้ฟีดแบค แอนาลอก เหมือนกับ CLASS D ฟีดแบคจะเป็นสัญญาณดิจิทอล และเกิดกับส่วนบนของฟิลเตอร์เอาท์พุท เพื่อหลีกเลี่ยงการยกเฟสของฟิลเตอร์นี้เพราะการเสียของสัญญาณในแอมพ์ CLASS D และ CLASS T เกิดขึ้นจากไทมิงทำงานผิดจังหวะ แอมพ์ CLASS T จะป้อนข้อมูลในเรื่องจังหวะกลับไป ส่วนการเสียของสัญญาณ ยังเกิดจากที่เเอมพ์ใช้ตัวประมวลผลสัญญาณดิจิทอล เพื่อแปลงอินพุท แอนาลอกไปเป็นสัญญาณ PWM และประมวลผลข้อมูลก่อนจะส่งกลับ
การประมวล ผล จะดูที่ข้อมูลฟีดแบค และทำการปรับแต่งจังหวะ เพราะลูพฟีดแบคไม่ได้รวมฟิลเตอร์เอาท์พุทเอาไว้ด้วย ในแอมพ์ CLASS T มั่นคงมาก และสามารถทำงานได้เต็มช่องสัญญาณเสียง ซึ่งผู้ฟังส่วนใหญ่ไม่สามารถได้ยินความแตกต่างระหว่าง CLASS T และ CLASS AB ที่ออกแบบดีๆได้
การออกแบบทั้ง CLASS Dและ CLASS T ต่างก็มีปัญหากันคนละอย่าง มันเกินกำลังมาก ที่รอบต่ำเพราะเวฟฟอร์มความถี่สูงๆ จะเกิดขึ้นตลอดเวลาแม้ในช่วงที่ไม่มีสัญญาณเสียงแอมพ์ก็ยีงมีความร้อนตกค้าง หลงเหลืออยู่แอมพ์บางรุ่นจะมีการตัดการทำงานของเครื่องเมื่อหยุดพักใช้งาน และจะกลับมาทำงานใหม่ เมื่อใช้งานโดยอัตโนมัติ
การออกแบบนี้ เป็นการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ โดยลดการสูญเสียโวลเทจกับทรานซิลเตอร์เอาท์พุทโวลเทจนี้ เป็นความแตกต่างระหว่างซัพพลายบวก หรือแดง กับเอาท์พุทออดิโอ สีฟ้า CLASS G มีประสิทธิภาพเทียบเท่า CLASS D หรือ CLASS T ในขณะที่การออกแบบ CLASS G มีความสลับซับซ้อนมาก โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานแอมพ์ CLASS AB และมีคุณลักษณะใกล้เคียงกันมาก
CLASS H
มีความคล้ายกับ CLASS G ยกเว้น RAIL VOLTAGE ที่โมดูเลทสัญญาณอินพุทเท่านั้น ที่ไม่มีเพาเวอร์ซัพพลาย RAIL จะสูงกว่าสัญญาณเอาท์พุทเล็กน้อย ปล่อยโวลเทจให้กับทรานซิสเตอร์ตัวเล็ก และระบายความร้อนทรานซิสเตอร์เอาท์พุท วงจรที่คล้ายกับที่ใช้ในแอมพ์ CLASS D นี้ก็คือ มีโมดูเลทเพาเวอร์ซัพพลาย RAIL ที่เหมือนกัน ในส่วนของความสลับซับซ้อนแอมพ์แบบนี้ มีความเหมือนกับแอมพ์ CLASS D แต่ทำงานได้เหมือนกับแอมพ์ CLASS AB
เป็นการรวมตัวกันของแอมป์ทั้ง 2 คลาสที่กล่าวมา คือใช้ทรานซิสเตอร์ 2 ตัว แต่จะมีการป้อนกระแสไฟปริมาณตํ่าๆเอาไว้ล่วงหน้าอยู่ตลอดแต่จะไม่มากเท่าคลา ส A และการจัดวงจรก็ใช้แบบ Push-Pull เหมือนคลาส B จึงทำให้พาวเวอร์แอมป์ประเภทนี้มีคุณภาพเสียงที่ค่อนข้างดี ถึงแม้จะไม่เท่าคลาส A แต่ได้เปรียบในเรื่องของกำลังขับที่มากกว่า และเกิดความร้อนน้อยกว่า และคลาส AB นี้แหละเป็นแอมป์ที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบัน และสามารถนำไปขับได้ทั้งลำโพงกลาง-แหลม หรือแม้แต่ซับวูเฟอร์ก็ได้
Class D
ตัว “D”ไม่ได้ย่อมาจากคำว่า DIGITAL อินพุทถูกแปลงเป็นออดิโอ เวฟฟอร์ม ไบนารี 2 สเตท ความแตกต่างเป็นเรื่องสำคัญ เพราะ CLASS D ออกแบบให้ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ แทนที่จะต้องเสียกำลังไปในทรานซิสเตอร์ เอาท์พุทก็จะถูกไม่เปิดตลอด ไม่มีโวลเทจเสีย ก็ปิดตลอด ส่งผลให้ประสิทธิภาพเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ดังนั้นอินพุทออดิโอถูกแปลงเป็น PWM (PULSE WIDULATED) ร่องสีเหลืองที่อยู่ขางใต้คือ เอาท์พุทของแอมพ์ ร่องสีฟ้าคือ เวฟฟอร์ม PWM เวฟฟอร์มสีฟ้าจะถูกป้อนให้กับฟิลเตอร์เอาท์พุท ซึ่งให้ผลเป็นเวฟฟอร์มเอาท์พุทสีเหลือง สังเกตว่า เอาท์พุทจะดูเหมือนอะไรบางอย่างที่เสียไปสัญญาณที่เสีย และเสียงสวิทชิงทั้งหมดไม่สามารถเอาออกไปได้ และจะเห็นผลได้ที่นี่ เพราะขั้นตอนการแปลงสัญญาณอินพุทไปเป็น pwn และแปลงกลับไปเป็นแอนาลอก ทำให้เกิดการเสียของสัญญาณไป ฟีดแบคทั่วไปก็เหมือนกับที่ใช้ในการออกแบบแอมพ์ CLASS “AB” เพื่อลดการเสียของสัญญาณ มอสเฟทเป็นทางเลือกเดียวสำหรับการออกแบบ CLASS “D” ซึ่งการออกแบบส่วนใหญ่จะมีประโยชน์แต่กับเพียงเบสส์แอมพ์ เมื่อมันไม่สามารถสวิทช์ได้เร็วเพียงพอ กับการผลิตความถี่สูงอีกครั้ง การออกแบบ CLASS “D” ฟลูล์เรนจ์คุณภาพสูงยังคงหาได้ ในเครื่องเสียงระดับมืออาชีพ แต่มันจะซับซ้อนกับเอาท์พุทมัลทิเฟล
CLASS T
(TRIPATH) เหมือนกับ CLASS D แต่ไม่ใช้ฟีดแบค แอนาลอก เหมือนกับ CLASS D ฟีดแบคจะเป็นสัญญาณดิจิทอล และเกิดกับส่วนบนของฟิลเตอร์เอาท์พุท เพื่อหลีกเลี่ยงการยกเฟสของฟิลเตอร์นี้เพราะการเสียของสัญญาณในแอมพ์ CLASS D และ CLASS T เกิดขึ้นจากไทมิงทำงานผิดจังหวะ แอมพ์ CLASS T จะป้อนข้อมูลในเรื่องจังหวะกลับไป ส่วนการเสียของสัญญาณ ยังเกิดจากที่เเอมพ์ใช้ตัวประมวลผลสัญญาณดิจิทอล เพื่อแปลงอินพุท แอนาลอกไปเป็นสัญญาณ PWM และประมวลผลข้อมูลก่อนจะส่งกลับ
การประมวล ผล จะดูที่ข้อมูลฟีดแบค และทำการปรับแต่งจังหวะ เพราะลูพฟีดแบคไม่ได้รวมฟิลเตอร์เอาท์พุทเอาไว้ด้วย ในแอมพ์ CLASS T มั่นคงมาก และสามารถทำงานได้เต็มช่องสัญญาณเสียง ซึ่งผู้ฟังส่วนใหญ่ไม่สามารถได้ยินความแตกต่างระหว่าง CLASS T และ CLASS AB ที่ออกแบบดีๆได้
การออกแบบทั้ง CLASS Dและ CLASS T ต่างก็มีปัญหากันคนละอย่าง มันเกินกำลังมาก ที่รอบต่ำเพราะเวฟฟอร์มความถี่สูงๆ จะเกิดขึ้นตลอดเวลาแม้ในช่วงที่ไม่มีสัญญาณเสียงแอมพ์ก็ยีงมีความร้อนตกค้าง หลงเหลืออยู่แอมพ์บางรุ่นจะมีการตัดการทำงานของเครื่องเมื่อหยุดพักใช้งาน และจะกลับมาทำงานใหม่ เมื่อใช้งานโดยอัตโนมัติ
การออกแบบนี้ เป็นการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ โดยลดการสูญเสียโวลเทจกับทรานซิลเตอร์เอาท์พุทโวลเทจนี้ เป็นความแตกต่างระหว่างซัพพลายบวก หรือแดง กับเอาท์พุทออดิโอ สีฟ้า CLASS G มีประสิทธิภาพเทียบเท่า CLASS D หรือ CLASS T ในขณะที่การออกแบบ CLASS G มีความสลับซับซ้อนมาก โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานแอมพ์ CLASS AB และมีคุณลักษณะใกล้เคียงกันมาก
CLASS H
มีความคล้ายกับ CLASS G ยกเว้น RAIL VOLTAGE ที่โมดูเลทสัญญาณอินพุทเท่านั้น ที่ไม่มีเพาเวอร์ซัพพลาย RAIL จะสูงกว่าสัญญาณเอาท์พุทเล็กน้อย ปล่อยโวลเทจให้กับทรานซิสเตอร์ตัวเล็ก และระบายความร้อนทรานซิสเตอร์เอาท์พุท วงจรที่คล้ายกับที่ใช้ในแอมพ์ CLASS D นี้ก็คือ มีโมดูเลทเพาเวอร์ซัพพลาย RAIL ที่เหมือนกัน ในส่วนของความสลับซับซ้อนแอมพ์แบบนี้ มีความเหมือนกับแอมพ์ CLASS D แต่ทำงานได้เหมือนกับแอมพ์ CLASS AB
WMA
ไฟล์ WMA เป็นรูปแบบไฟล์แบบหนึ่งของบริษัทไมโครซอฟต์ ชื่อเต็มคือ Windows Media Audio เป็นไฟล์ทีมีนามสกุลเป็น .wma จัดได้ว่าเป็นคู่แข่งของ mp3 และ Real Audio เพราะมีคุณสมบัติด้านการ Streaming เช่นเดียวกัน แต่ให้คุณภาพเสียงที่ดีกว่าในขณะที่ขนาดของไฟล์เล็กกว่าประมาณครึ่งหนึ่ง ทำให้ใช้เวลาน้อยกว่าในการดาวน์โหลดผ่านอินเตอร์เน็ต เมื่อก่อนการเล่นไฟล์ประเภทนี้ต้องเล่นผ่านโปรแกรม Windows Media Player เท่านั้น แต่ปัจจุบันมีโปรแกรมหลายโปรแกรมที่สามารถเล่นไฟล์นี้ได้
WMA
ไฟล์ WMA เป็นรูปแบบไฟล์แบบหนึ่งของบริษัทไมโครซอฟต์ ชื่อเต็มคือ Windows Media Audio เป็นไฟล์ทีมีนามสกุลเป็น .wma จัดได้ว่าเป็นคู่แข่งของ mp3 และ Real Audio เพราะมีคุณสมบัติด้านการ Streaming เช่นเดียวกัน แต่ให้คุณภาพเสียงที่ดีกว่าในขณะที่ขนาดของไฟล์เล็กกว่าประมาณครึ่งหนึ่ง ทำให้ใช้เวลาน้อยกว่าในการดาวน์โหลดผ่านอินเตอร์เน็ต เมื่อก่อนการเล่นไฟล์ประเภทนี้ต้องเล่นผ่านโปรแกรม Windows Media Player เท่านั้น แต่ปัจจุบันมีโปรแกรมหลายโปรแกรมที่สามารถเล่นไฟล์นี้ได้
หลังจากการวัดค่า r 100 ohm พบว่ามีค่าที่ผิดปกติ ----> ยืดค่าเป็น 45 M ohm มิน่ากระแสไฟวิ่งแทบไม่ได้เลย ยืดหลายหมื่นเท่า
เมื่อทำการเปลี่ยนแล้ว เครื่องก็ทำงานเป็นปกติครับ
ให้กำลังใจ 0
หยิกหู 0
แจกหู 0
ความคิดเห็นที่ : 123
robot
18/02/2015 21:17:40
0
jetsadaton9999 < อาการเดียวกันเลยน้องเจษ เคยเป็นเหมือนกันรุ่นนี้ R 100 โอห์ม เปลี่ยนแล้วหายเลย
ฝากห้อง mini compo club ในเฟสบุคด้วยนะครับเผื่อมีเพื่อนสมัครสมาชิกอยากเข้าร่วมด้วยตอนมีสมาชิกเพิ่มเรื่อยๆนะครับ
https://www.facebook.com/groups/200419583371950/
jetsadaton9999 < อาการเดียวกันเลยน้องเจษ เคยเป็นเหมือนกันรุ่นนี้ R 100 โอห์ม เปลี่ยนแล้วหายเลย
ฝากห้อง mini compo club ในเฟสบุคด้วยนะครับเผื่อมีเพื่อนสมัครสมาชิกอยากเข้าร่วมด้วยตอนมีสมาชิกเพิ่มเรื่อยๆนะครับ
https://www.facebook.com/groups/200419583371950/
คุณ jetsadaton9999 >> SONY EX70AV << ถ้าเราต้องการนำ POWER-AMP ไปใช้ต่อกับอุปกรณือื่นเช่น IPAD โดยไม่ต่อ CONTROL SYSTEM เข้ากับ CD, TUNER, TAPE รบกวนแนะนำหน่อยครับ อีกอย่างตอนนี้ผมไม่มีสาย CONTROL SYSTEM ด้วย หายตอนย้ายของตอนนำท่วมปี54 >> ตัว POWER AMP ตอนนี้ถ้าเปิดมา ดูเหมือนปกติ สามารถเลือก SOURCE ได้โดยกดปุ่ม AUDIO แต่พัดลมที่ด้านหลังไม่ทำงาน ถ้าผมเข้าใจไม่ผิดคือ power supply หลักที่จ่ายให้ power amp มันไม่ทำงาน มันติด protect ของ control system ไม่รู้ผมเข้าใจถูกหรือเปล่า มีวิธีที่จะนำเอา power amp ไปใช้ ช่วยแนะนำด้วยครับ ขอบคุณครับ
คุณ jetsadaton9999 >> SONY EX70AV << ถ้าเราต้องการนำ POWER-AMP ไปใช้ต่อกับอุปกรณือื่นเช่น IPAD โดยไม่ต่อ CONTROL SYSTEM เข้ากับ CD, TUNER, TAPE รบกวนแนะนำหน่อยครับ อีกอย่างตอนนี้ผมไม่มีสาย CONTROL SYSTEM ด้วย หายตอนย้ายของตอนนำท่วมปี54 >> ตัว POWER AMP ตอนนี้ถ้าเปิดมา ดูเหมือนปกติ สามารถเลือก SOURCE ได้โดยกดปุ่ม AUDIO แต่พัดลมที่ด้านหลังไม่ทำงาน ถ้าผมเข้าใจไม่ผิดคือ power supply หลักที่จ่ายให้ power amp มันไม่ทำงาน มันติด protect ของ control system ไม่รู้ผมเข้าใจถูกหรือเปล่า มีวิธีที่จะนำเอา power amp ไปใช้ ช่วยแนะนำด้วยครับ ขอบคุณครับ
แม่มยังอยู่ครบเลยนะครับคนเคยๆ:-D
edward jong หัวอ่านคงต้องซ่อม ส่วนลำโพงถ้าหายากผมคงใช้ลำโพงsonyไม่ตรงรุ่นไปก่อน
เจษ ผมไม่ค่อยมีเวลาไปบ้านหมอเลยถ้าคุณเจษสะดวกจัดมาให้ผมที่ครับหัวอ่านผมอยากชุบชีวิตมันเหมือนกันชอบซุ่มเสียงเจ้าgr8ครับให้เสียงที่ชัดเจนกระชับฟังแล้วผ่อนครายดีครับไม่ดุเหมือนgrx8ออกโหดๆปล่อยไปแล้วครับเจ้าgrx8ฟังเอามันอย่างเดียว
แม่มยังอยู่ครบเลยนะครับคนเคยๆ:-D
edward jong หัวอ่านคงต้องซ่อม ส่วนลำโพงถ้าหายากผมคงใช้ลำโพงsonyไม่ตรงรุ่นไปก่อน
เจษ ผมไม่ค่อยมีเวลาไปบ้านหมอเลยถ้าคุณเจษสะดวกจัดมาให้ผมที่ครับหัวอ่านผมอยากชุบชีวิตมันเหมือนกันชอบซุ่มเสียงเจ้าgr8ครับให้เสียงที่ชัดเจนกระชับฟังแล้วผ่อนครายดีครับไม่ดุเหมือนgrx8ออกโหดๆปล่อยไปแล้วครับเจ้าgrx8ฟังเอามันอย่างเดียว